องค์ประกอบที่ 3 องค์ประกอบที่ 3 ตัวบ่งชี้สนับสนุนการประเมิน ระดับคณะ | ระบบประเมินตนเองออนไลน์ มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ

องค์ประกอบที่ 3 องค์ประกอบที่ 3 ตัวบ่งชี้สนับสนุนการประเมิน ระดับคณะ

ปีที่ทำการประเมินตนเอง : 2562
หลักการ

การดำเนินงานตามตัวบ่งชี้สนับสนุนการประเมินระดับคณะ คือ ตัวบ่งชี้ที่ทางหน่วยงานมีการส่งเสริม สนับสนุน และรวบรวมข้อมูล ตามระบบการประกันคุณภาพการศึกษาระดับคณะ โดยหน่วยงาน ได้ให้การสนับสนุนการประเมินระดับคณะ มีจำนวน 25 ตัวบ่งชี้ ได้แก่

 

ที่

ตัวบ่งชี้ที่

ชื่อตัวบ่งชี้

หมายเหตุ

มาตรฐานที่ 1 ด้านผลลัพธ์ผู้เรียน (จำนวน 6 ตัวบ่งชี้)

1

ตัวบ่งชี้ที่ 1.1

สนับสนุนคุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติในคณะ/วิทยาลัย

1

2

ตัวบ่งชี้ที่ 1.2

สนับสนุนการได้งานทำหรือผลงานวิจัยของผู้สำเร็จการศึกษาในคณะ/วิทยาลัย

2

3

ตัวบ่งชี้ที่ 1.3

สนับสนุนร้อยละของนักศึกษาชั้นปีสุดท้ายในคณะ/วิทยาลัยที่มีผลงานหรือมีส่วนร่วมในการสร้างผลงานวิจัย/งานสร้างสรรค์และนวัตกรรม

 

3

4

ตัวบ่งชี้ที่ 1.4

สนับสนุนร้อยละของนักศึกษาชั้นปีสุดท้ายในคณะ/วิทยาลัยที่มีคุณลักษณะเป็นผู้ประกอบการ (ไม่นำมาคิด แต่ให้เขียนรายงาน)

 

 

5

ตัวบ่งชี้ที่ 1.5

สนับสนุนร้อยละของนักศึกษาชั้นปีสุดท้ายในคณะ/วิทยาลัยที่มีทักษะศตวรรษที่ 21 (3R 7C) และทักษะการเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างครบถ้วน

(ไม่นำมาคิด แต่ให้เขียนรายงาน)

 

6

ตัวบ่งชี้ที่ 1.6

สนับสนุนร้อยละของนักศึกษาชั้นปีสุดท้ายในคณะ/วิทยาลัยที่มี

ความกล้าหาญทางจริยธรรม แสดงออกในการต่อต้านคอรัปชั่นอย่างชัดเจน (ระดับคณะ) (ไม่นำมาคิด แต่ให้เขียนรายงาน)

 

มาตรฐานที่ 2 ด้านผลลัพธ์การวิจัย/งานสร้างสรรค์และนวัตกรรม (จำนวน 3 ตัวบ่งชี้)

7

ตัวบ่งชี้ที่ 2.1

สนับสนุนผลงานวิชาการของอาจารย์ประจำและนักวิจัยในคณะ/วิทยาลัย

4

8

ตัวบ่งชี้ที่ 2.2

สนับสนุนร้อยละของผลงานวิจัย/นวัตกรรมและงานสร้างสรรค์ในคณะ/วิทยาลัยที่ตอบสนองยุทธศาสตร์ชาติ หรือยุทธศาสตร์ วิจัยของมหาวิทยาลัย หรือความต้องการของสังคมในเขตเศรษฐกิจพิเศษนครพนม

 

 

5

 

 

 

9

ตัวบ่งชี้ที่ 2.3

สนับสนุนจำนวนผลงานวิจัย/งานสร้างสรรค์และนวัตกรรมในคณะ/วิทยาลัย ที่เกิดจากเครือข่ายความร่วมมือระหว่างสถาบันอุดมศึกษา องค์กรภาครัฐและเอกชนทั้งในและต่างประเทศในอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขงตอนกลาง

6

มาตรฐานที่ 3 ด้านผลลัพธ์การบริการวิชาการและเอกลักษณ์ของคณะ/วิทยาลัย (จำนวน 2 ตัวบ่งชี้)

10

ตัวบ่งชี้ที่ 3.1

สนับสนุนจำนวนชุมชนเป้าหมายที่คณะ/วิทยาลัยได้ดำเนินการเองหรือมีส่วนร่วมในการดำเนินการกับมหาวิทยาลัย ตามตัวบ่งชี้ 3.1 ระดับสถาบันอย่างต่อเนื่อง

7

11

ตัวบ่งชี้ที่ 3.2

สนับสนุนเอกลักษณ์และความเป็นเลิศของคณะ/วิทยาลัย (ถ้ามี)

8

มาตรฐานที่ 4 ด้านผลลัพธ์ศิลปวัฒนธรรมและความเป็นไทย (จำนวน 1 ตัวบ่งชี้)

12

ตัวบ่งชี้ที่ 4.1

สนับสนุนจำนวนศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่นที่คณะ/วิทยาลัยได้ดำเนินการเองหรือมีส่วนร่วมในการดำเนินการกับมหาวิทยาลัย (ในพื้นที่จังหวัดนครพนม มุกดาหาร และสกลนคร) เพื่อสืบสาน เช่น การศึกษาเรียนรู้ การวิจัย การบริการวิชาการ ฯลฯ อย่างต่อเนื่องทุกปี

9

มาตรฐานที่ 5 ด้านกระบวนการบริหารจัดการ (จำนวน 15 ตัวบ่งชี้)

ตัวบ่งชี้ที่ 5.1 ด้านคุณภาพหลักสูตร (จำนวน 1 ตัวบ่งชี้)

13

ตัวบ่งชี้ที่ 5.1.1

สนับสนุนร้อยละของหลักสูตรของคณะ/วิทยาลัย ที่ได้รับการขึ้นทะเบียนการเผยแพร่หลักสูตรที่มีคุณภาพและมาตรฐานตามกรอบคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2552 (TQR) และหรือมาตรฐานการรับรองหลักสูตรมาตรฐานระดับชาติหรือนานาชาติที่ สกอ.รองรับ

10

ตัวบ่งชี้ที่ 5.2 ด้านกระบวนการบริหารจัดการตามพันธกิจ (จำนวน 13 ตัวบ่งชี้)

พันธกิจด้านการเรียนการสอน

14

ตัวบ่งชี้ที่ 5.2.1

สนับสนุนระบบและกลไกการบริการนักศึกษา ระดับปริญญาตรีของคณะ/วิทยาลัย

11

15

ตัวบ่งชี้ที่ 5.2.2

สนับสนุนระบบและกลไกการจัดกิจกรรมนักศึกษาระดับปริญญาตรีของคณะ/วิทยาลัย

12

16

ตัวบ่งชี้ที่ 5.2.3

สนับสนุนจำนวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเท่าต่อจำนวนอาจารย์ประจำสังกัดคณะ/วิทยาลัย

13

พันธกิจด้านการวิจัย

17

ตัวบ่งชี้ที่ 5.2.4

สนับสนุนระบบและกลไกการบริหารและพัฒนาวิจัย/งานสร้างสรรค์และนวัตกรรมของคณะ/วิทยาลัย

14

18

ตัวบ่งชี้ที่ 5.2.5

สนับสนุนจำนวนเงินสนับสนุนงานวิจัย/งานสร้างสรรค์และนวัตกรรมของคณะ/วิทยาลัย

15

พันธกิจด้านการบริการวิชาการ

19

ตัวบ่งชี้ที่ 5.2.6

สนับสนุนระบบและกลไกการบริการวิชาการแก่สังคมของคณะ/วิทยาลัย

16

พันธกิจด้านทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม

20

ตัวบ่งชี้ที่ 5.2.7

สนับสนุนระบบและกลไกการทำนุบำรุงศิลปและวัฒนธรรมของคณะ/วิทยาลัย

17

พันธกิจด้านกระบวนการบริหารจัดการด้วยหลักธรรมาภิบาล

21

ตัวบ่งชี้ที่ 5.2.8

สนับสนุนระบบและกลไกการกำกับติดตามผลลัพธ์ตามพันธกิจของมหาวิทยาลัย กลุ่ม ข

18

22

ตัวบ่งชี้ที่ 5.2.9

สนับสนุนผลการบริหารของหน่วยงานตามโครงสร้างคณะ/วิทยาลัยในระดับอุดมศึกษา

19

23

ตัวบ่งชี้ที่ 5.2.10

สนับสนุนผลการประเมินคุณภาพทุกหลักสูตรที่สภามหาวิทยาลัยอนุมัติให้เปิด (ไม่นำมาคิด แต่ให้เขียนรายงาน)

 

การบริหารจัดการบุคลากรและทรัพยากรการเรียนรู้

24

ตัวบ่งชี้ที่ 5.2.11

สนับสนุนอาจารย์ประจำสังกัดคณะ/วิทยาลัยที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก

(ไม่นำมาคิด แต่ให้เขียนรายงาน)

 

25

ตัวบ่งชี้ที่ 5.2.12

สนับสนุนอาจารย์ประจำสังกัดคณะ/วิทยาลัยที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ

20

26

ตัวบ่งชี้ที่ 5.2.13

สนับสนุนระบบและกลไกการบริหารและพัฒนาอาจารย์และบุคลากรสายสนับสนุน

21

ตัวบ่งชี้ที่ 5.3 ด้านกระบวนการบริหารจัดการระบบประกันคุณภาพ (จำนวน 1 ตัวบ่งชี้)

27

ตัวบ่งชี้ที่ 5.3.1

สนับสนุนระบบกำกับติดตามการประกันคุณภาพระดับหลักสูตรและคณะและหน่วยงานสนับสนุนของคณะ/วิทยาลัย

22

มาตรฐานที่ 6 ด้านอัตลักษณ์ของผู้สำเร็จการศึกษา เอกลักษณ์และความเป็นเลิศของคณะ/วิทยาลัย (จำนวน 3 ตัวบ่งชี้)

อัตลักษณ์ของผู้สำเร็จการศึกษา

28

ตัวบ่งชี้ที่ 6.1

สนับสนุนนักศึกษาชั้นปีสุดท้ายของคณะ/วิทยาลัย ที่มีความสามารถในการสื่อสารภาษาอังกฤษ

23

29

ตัวบ่งชี้ที่ 6.2

สนับสนุนนักศึกษาชั้นปีสุดท้ายของคณะ/วิทยาลัย ที่มีความสามารถในการใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศในการทำงาน

24

30

ตัวบ่งชี้ที่ 6.3

สนับสนุนจำนวนหลักสูตรที่มีอย่างน้อย 1 รายวิชาที่จัดการเรียนการสอนเป็นภาษาอังกฤษ (อย่างน้อย 12 ชั่วโมงต่อปีการศึกษาไม่รวมวิชาภาษาอังกฤษ)

25

จำนวนตัวบ่งชี้ทั้งหมด

(รวมทั้งสิ้น 6 มาตรฐาน 25 ตัวบ่งชี้)

 

ทั้งนี้ หน่วยงานรับผิดชอบตัวบ่งชี้ ระดับคณะ จำนวน 25 ตัวบ่งชี้ สามารถนำมาเรียบเรียงเป็นตัวบ่งชี้ร้อยละความสำเร็จของการดำเนินงานประกันคุณภาพตามตัวบ่งชี้ ระดับคณะ จำนวน 1 ตัวบ่งชี้ ดังนี้